
เมื่อก่อนนั้นตอนที่ยังเป็นนักเรียนอยู่ หลายๆ คนคงเชื่อเสมอเมื่อเราตั้งใจเรียน เราจะ สอบติดคณะที่ใช่มีโอกาส ได้งานที่ดี และยิ่งเป็นอาชีพ ที่ใครก็รู้จัก อย่างเช่น ข้าร าชการ, วิศวกร, นักธุรกิจ อาชีพเหล่านี้มันยิ่งน่าภูมิใจ
เพราะนอกจากว่า เงินเดือนที่ได้เพียงพอที่จะจุนเจือรอบครัวได้ ทั้งยังมีสวัสดิการรองรับให้สุขสบายอีกด้วย เป็นอาชีพที่ถือว่า “มีหน้ามีตา” แต่ในโลกของความจริง
อาชีพที่มีหน้ามีตา มันไม่ได้เหมาะกับทุกคนเสมอไปหรอก เพราะแต่ละอาชีพเขาก็มีการกำหนด อัตร ารับสมั ครที่ค่อนข้างจำกั ด คำถามที่ว่า “แล้วจะเรียนไปเพื่ออะไร หากสุดท้ายก็ได้งานที่ไม่ตรงสาย
งานที่น้อยคนจะรู้จัก เงินก็ไม่ได้มากอะไรเลย” และคำถามนี้นั้น จะได้คำตอบ ที่ทำให้กลุ้มใจมากเพราะว่า มันเต็มไปด้วยความคาดหวัง ที่คิดว่า “เรามีทางเลือก อยู่ไม่กี่อย่างในชีวิต”
แต่หากลองเปลี่ยนเป็นความคิดไปว่า “เราทำงานอะไรก็ได้ จะตรงสาย หรือไม่” มันอาจดูประโยคแ พ้ในสายตาใครบางคน แต่เมื่อคิดๆ ดูแล้วมันได้ความสบายใจเยอะ
1. เพราะแม้แต่ในคนเดียวกัน ยังมีความสามารถที่มากมาย เช่น เป็นห ม อแต่ก็เล่นด นตรีเก่งทำ อ า ห า รเป็น คำนวณเก่ง ในครั้งหนึ่งที่เราไม่เห็นประโยชน์ว่าจะใช้อะไรได้จริง
เมื่อโตขึ้นอีกหน่อยมันก็ต้องมีบ้ างที่เรานึกอะไรขึ้นมา จนต้องไปหาอ่ า นตำราอีกครั้ งนั่นคือ ทุกความรู้ที่เราได้รับไม่เคยสู ญเปล่าเลย แค่บางทีเรามองไม่เห็นค่ามัน นึกให้ดี แล้วคุณจะทำได้
2. มันเป็นเรื่องธรรมดา ที่คนเราจะต้องวิ่งตามหาสิ่งที่ “ใช่”เรียนรู้กันไป ค่อย ๆปรับตัวไปสิ่งที่เรากำลังสนุกตอนนี้ บางครั้งอาจจะยังไม่ใช่ที่สุดสิ่งที่เราเก่งตอนนี้ ในวันข้างหน้า
มันอาจเป็นเพียงแค่ความทรงจำเท่านั้น เพราะอาจมีหลายปัจจัยให้คิด ให้เราทำมากขึ้น เช่น จำเป็นต้องพับโครงการเรียนต่อไว้ก่อน เพราะเงินไม่พอ ต้องทำงานหาเงินก่อนแล้วค่อยไปเรียนในสิ่งที่เราชอบเราต้องดูจังหวะของชีวิตด้วย เพราะแต่ละช่วงชีวิตนั้น มีความจำเป็นอยู่
3. เพราะคนเราทุกคนมีความสามารถในตัวเอง ที่ไม่เหมือนกัน ฉะนั้น เราไม่จำเป็นต้องเก่งเหมือนกันทุกคน
4. มนุษย์เรา ควรมีทางเลือกให้กับชีวิตไว้หลายๆ ด้าน เพื่อไม่เป็นการปิดกั้นตัวเองมากไปเช่น หากวุฒิที่เราเรียนมา มันหางานย า ก จะยอมรึมั้ยล่ะ ที่เอาวุฒิต่ำกว่านี้หางานก่อนหากเราไม่ได้อาชีพนี้เรายอมได้มั้ย ที่จะทำอาชีพอื่นไปพลางๆ เพราะความฝันสิ่งที่ใช่ เป็นสิ่งที่ไม่ได้ดั่งใจในทันที
5. สิ่งที่เราเรียนมาหลายๆ วิชานั่นมันคือ “การหล่อหลอม” บางครั้งมันอาจไม่ได้สอนเราทางตรงแต่มันทำให้เราค่อยๆ ซึมซับไปเอง เช่น ฝึกความประณีต, ฝึกทักษะการเข้าสังคม, ฝึกความอดทน
6. สิ่งที่เราเก่งไม่จำเป็นต้อง ออกมาในรูปแบบวิชาชี พเสมอไป เช่น ห ม อ, วิศวกร เหล่านี้มันอาจเป็นพรสวรรค์เป็นความรู้อะไรก็ได้ที่เราเอาจริงกับมัน เช่น การทำอ า ห า ร,การจัดสวน (ไม่เช่นนั้น เราคงไม่เห็นนักธุรกิจหน้าใหม่หลายคน ผุ ดขึ้นเป็นด อกเห็ ดหรอก จริงมั้ย!)
7. ในรั้วโรงเรียน หรือม ห าลั ย แม้เราได้เรียนกับอาจารย์ที่เก่งแค่ไหน ในส่วนของขอบเขตความรู้ก็เป็นเพียงความรู้ในรั้วเท่านั้น แต่โลกของวัยผู้ใหญ่ เรายังต้องรู้ต้องเห็นอีกมาก
เรียนรู้กันอีกย า ว ฉะนั้น จะมาฟั น ธ งว่าเรียนมาสายวิ ทย์ต้องทำงานสายวิทย์เรียนสายภาษ าต้องทำงานสายภาษ าแบบนี้มันก็ไม่ถูกเสมอไป มันเป็นเรื่องธรรมดาจริงๆ ที่ต้องแลกกับความเหนื่อย
หลายเท่าตัวจึงไม่ใช่เรื่องแปลกอะไร ถ้าจะพบว่าทำไมห ม อบางคนถึงแต่งเพลงได้ ?บางคนเรียนวิชาชีพ แต่มาเป็นศิลปิน ทั้งนี้ทั้งนั้นมันอยู่ที่ตัวเราล้วน ๆ ว่า รู้ตัวดีหรือ ไม่ว่าทำอะไรอยู่
และพร้อมจะยืดหยุ่น กับทุกสถานการณ์ได้ขนาดไหน อย่าลืมว่าโลกเรากลมมันมีหลายมิติใช่ว่าจะต้องมองเพียงด้านเดียว เราต้องมองโลกให้กว้าง
ที่มา : j e e b